มูลนิธิลพบุรีสามัคคีสงเคราะห์ ได้จัดพิธี
เบิกหน้าดิน สถานมหากรุณานุวรณ์กุศลสถาน
สร้างพระโพธิสัตว์กวนอิมพันมือ
แกะลักด้วยหินหยกขาว ความสูง 16.40 เมตร
ณ มหากรุณานุวรณ์กุศลสถาน
เลขที่ 888 หมู่ที่ 8 ถนนลพบุรี-บ้านแพรก
ตำบลป่าตาล อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
ในวันเสาร์ 23 พฤศจิกายน 2567
เมื่อเวลา 10.00 น ในวันศุกร์ที่ 22พฤศจิกายน 2567
นายสุวัฒน์ เอนกศักยพงศ์
ประธานมูลนิธิลพบุรีสามัคคีสงเคราะห์
เปิดเผยทางโทรศัพท์ว่า
มูลนิธิลพบุรีสามัคคีสงเคราะห์ ได้จัดพิธี
เบิกหน้าดิน สถานมหากรุณานุวรณ์กุศลสถาน
สร้างพระโพธิสัตว์กวนอิมพันมือ
แกะลักด้วยหินหยกขาว ความสูง 16.40 เมตร
ณ มหากรุณานุวรณ์กุศลสถาน
จะทำพิธีเบิกหน้าดินเพื่อ
สถานมหากรุณานุวรณ์กุศลสถาน
สร้างพระโพธิสัตว์กวนอิมพันมือ
แกะลักด้วยหินหยกขาว ความสูง 16.40 เมตร
ณ มหากรุณานุวรณ์กุศลสถาน
ในพื้นที่มูลนิธิฯเพื่อให้พี่น้อง ประชาชนชาวอำเภอเมืองลพบุรี
และผู้ที่ขับรถ สัญจรผ่านไปมา ได้กราบ ไหว้ รับพรเพื่อเสริมสิริ มงคล ยึดเหนี่ยวจิตใจ แก่ ตนเองและครอบครัว เดิน ทางแคล้วคลาดปลอดภัย
ซึ่งในการสร้างพระโพธิสัตว์ กวนอิมพันมือ
ก็เพื่ออาราธนา บารมีของพระองค์ท่าน ให้ ทำลายทุกข์ขจัดปัดเป่าให้ ทุกคนได้รับพร สมปรารถนา ซึ่งพระโพธิ สัตว์กวนอิมเป็นสัญลักษณ์ แห่งความแคล้วคลาด ปลอดภัยอันตรายทั้งปวง อีกทั้งพระองค์ยังเป็น สัญลักษณ์แห่งความอุดม สมบูรณ์ ความสำเร็จ ความ มีปัญญาในการประกอบ กิจการทุกประการ ล้วนมี คุณค่าทางจิตใจของพี่น้อง
อ. เมือง จ.ลพบุรี
องค์แม่กวนอิมพันมือ
ก็เพื่ออาราธนา บารมีของพระองค์ท่าน ให้ ทำลายทุกข์ขจัดปัดเป่าให้ ทุกคนได้รับพร สมปรารถนา ซึ่งพระโพธิ สัตว์กวนอิมเป็นสัญลักษณ์ แห่งความแคล้วคลาด ปลอดภัยอันตรายทั้งปวง อีกทั้งพระองค์ยังเป็น สัญลักษณ์แห่งความอุดม สมบูรณ์ ความสำเร็จ ความ มีปัญญาในการประกอบ กิจการทุกประการ ล้วนมี คุณค่าทางจิตใจของพี่น้อง ประชาชน
ในการก่อสร้าง
พระปฏิมาพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์หยกขาวแกะสลักขนาดความสูง 16.40 เมตร ประดิษฐาน
ณ มหากรุณานุสรณ์กุศลสถาน
(ต้า ฮว๋อ กวน อิน เยวี่ยน)
อ. เมือง จ.ลพบุรี
เรียมเชิญ สาธุชนร่วมงานพิธี เบิกหน้าดิน
การเริ่มต้นการก่อสร้าง
และ พิธีไค่กวง (พิธีเบิกเนตร )
พระปฏิมาพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ หรือ พระกวนอิมโพธิสัตว์ ปางพันมือ องค์ต้นแบบ
ณ อาคารชั่วคราว มหากรุณานุสรณ์กุศลสถาน
ด้าน นายจักกฤช ลิ่มศิลา รองประธานมูลนิธิลพบุรีสามัคคีสงเคราะห์
เปิดเผยทางโทรศัพท์เพิ่มเติมว่า
สำหรับผู้บริหารมูลนิธิฯ
ก่อสร้าง
พระปฏิมาพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์หยกขาวแกะสลักขนาดความสูง 16.40 เมตร ประดิษฐาน
ณ มหากรุณานุสรณ์กุศลสถาน
(ต้า ฮว๋อ กวน อิน เยวี่ยน)
อ. เมือง จ.ลพบุรี
เนื้อที่กว่า 2 ไร่
“ทุกท่านที่เข้ามามีส่วนร่วมในวันนี้ถือเป็นผู้ใจบุญประวัติเพื่อดูตัวอย่างการสร้างตัวอย่างแห่งการทำความดีให้แก่เส้นผมของเราซึ่งการที่มูลนิธิเฉินกถานเป็นผู้นำที่ถือธรรมปฏิบัติในลักษณะถือเป็นตัวอย่างที่จะนำธรรมะที่ยึดถือปฏิบัติขององค์กรขอระบบสารสนเทศจิตศรัทธาทุกท่านที่ร่วมกันให้ผู้นำประสบความสำเร็จและขอให้สิ่งที่มีความสำคัญเป็นพิเศษจงดลบันดาล… ให้ทุกท่านและครอบครัวได้รับอานิสงค์แห่งดีโดยทั่วกัน”
ด้านนายจักกฤช ลิ่มศิลา เปิดเผยเพิ่มเติมว่า
โดยปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณพระโพธิสัตว์กวนอิมพันมือ
แกะลักด้วยหินหยกขาว
ซึ่งเป็นสถานที่เคารพศรัทธา พัฒนาให้เป็นแหล่งพักผ่อน ส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ พร้อมทั้งส่งเสริมให้สถานมหากรุณานุวรณ์กุศลสถานมูลนิธิลพบุรีสามัคคีสงเคราะห์
เป็นสถานที่ท่องเที่ยวหลักในจังหวัดลพบุรี
แล้วเสร็จจะสวยงามอยู่บนสวรรค์ เหมือนท่านเหาะอยู่บนฟ้าลงมาจากสวรรค์
ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจของจังหวัดลพบุรี อีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ของลพบุรีใจกลางเมือง
อนึ่งก่อนหน้านี้เมื่อวันพุธที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ทางมูลนิธิลพบุรีสามัคคีสงเคราะห์
จัดพิธีวางศิลาฤกษ์สร้างพระโพธิสัตว์กวนอิมพันมือ แกะสลักด้วยหินหยกขาว ความสูง 16.40 เมตร ประดิษฐาน ณ มหากรุณานุสรณ์กุศลสถาน
อีกประการหนึ่งมีจิตศรัทธาได้ขอร่วมบริจาคโดยโอนเงินเข้าบัญชี
มูลนิธิลพบุรีสามัคคีสงเคราะห์ ธนาคารทหารไทยธนชาต เลขที่บัญชี 304-792164-2
หรือติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้หมายเลขโทรศัพท์ 090-888 3255
เพื่อเป็นที่ยึดเหนียวจิตใจคณะกรรมการบริหารมูลนิธิสามัคคีสงเคราะห์
และสาธุชนผู้มีจิตศรัทธา
ประวัติความเป็นมาแห่งพระโพธิสัตว์กวนอิม
พระโพธิสัตว์กวนอิมในตำนานฝ่ายจีน
พระโพธิสัตว์กวนอิม (ประสูติ 19 เดือนยี่จีน) เดิมเป็นเทพธิดาซึ่งต้องการช่วยปลดเปลื้องทุกข์ภัยแก่มวลมนุษย์ ในชาติสุดท้ายจึงจุติลงมายังโลกมนุษย์นาม เจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน เป็นพระราชธิดาองค์เล็กของกษัตริย์แห่งอาณาจักรซิงหลิง พระนามว่า พระเจ้าเมี่ยวจวง กับพระนางเซี่ยวหลิน (พระนางเป๋าเต๋อ) มีพระพี่นาง 2 พระองค์ คือ เจ้าหญิงเมี่ยวอิม และเจ้าหญิงเมี่ยวหยวน
ในเยาว์วัย เจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน ทรงเป็นพุทธมามกะ รู้แจ้งในหลักธรรมลึกซึ้ง ตั้งพระทัยแน่วแน่จะบำเพ็ญภาวนา เพื่อหลุดพ้นสังสารวัฏ ทรงออกบวชวันที่ 19 เดือน 9 พระเจ้าเมี่ยวจวงไม่เห็นด้วย จึงบังคับให้เลือกราชบุตรเขย เพื่อจะได้สืบทอดราชบัลลังก์ต่อไป แต่เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านไม่สนพระทัยเรื่องลาภ ยศ สรรเสริญ อันจอมปลอม แม้จะถูกพระบิดาดุด่าอย่างไร พระองค์ก็ไม่เคยนึกโกรธเคืองแต่อย่างใด
ต่อมาเจ้าหญิงเมี่ยวซานได้ถูกขับไปทำงานหนักในสวนดอกไม้ เช่น หาบน้ำ ปลูกดอกไม้ ทั้งนี้เพื่อทรมานให้เปลี่ยนความตั้งใจ แต่ก็มีเหล่ารุกขเทวดามาช่วยทำแทนให้ทั้งหมด เมื่อพระเจ้าเมี่ยวจวงเห็นว่าไม่ได้ผล จึงรับสั่งให้หัวหน้าแม่ชี นำเจ้าหญิงเมี่ยวซาน ไปอยู่ที่วัดนกยูงขาว และให้เอางานของแม่ชีทั้งวัดมอบให้เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านทำพระองค์เดียว แต่พระองค์มีพระทัยเด็ดเดี่ยว ไม่เกี่ยงงานการต่างๆ ก็มีเหล่าเทพารักษ์มาช่วยทำแทนให้อีก พระเจ้าเมี่ยวจวงเข้าพระทัยว่า พวกแม่ชีไม่กล้าเคี่ยวเข็ญใช้งานหนัก ก็ยิ่งทรงกริ้วหนักขึ้น สั่งให้ทหารเผาวัดนกยูงขาวจนวอดเป็นจุณไป พร้อมกับพวกแม่ชีทั้งวัด มีแต่เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านเท่านั้นที่ปลอดภัยรอดชีวิตมาได้
พระเจ้าเมี่ยวจวงทรงทราบดังนั้น จึงรับสั่งให้นำตัวเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านไปประหารชีวิต เทพารักษ์คอยคุ้มครองเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านอยู่ โดยเนรมิตทองทิพย์เป็นเกราะห่อหุ้มตัว คมดาบของนายทหารจึงไม่อาจระคายพระวรกาย ดาบหักถึง 3 ครั้ง 3 ครา พระเจ้าเมี่ยวจวงทรงกริ้วยิ่งนัก โดยเข้าพระทัยว่านายทหารไม่กล้าประหารจริง จึงให้ประหารนายทหารแทน แล้วรับสั่งให้จับเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านไปแขวนคอ ทว่าผ้าแพรที่แขวนคอก็ขาดสะบั้นลงอีก ทันใดนั้นปรากฏมีเสือเทวดาตัวหนึ่งได้นำเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านขึ้นพาดหลังแล้วเผ่นหนีไปที่เขาเซียงซัน ต่อมา เทพไท่ไป๋ได้แปลงร่างเป็นชายชรามาโปรดเจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน ชี้แนะเคล็ดวิธีการบำเพ็ญเพียรเครื่องดับทุกข์ จนสามารถบรรลุมรรคผลสำเร็จธรรม วันที่ 19 เดือน 6 ข้างฝ่ายพระเจ้าเมี่ยวจวงเข้าพระทัยว่า เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านถูกเสือคาบไปกินเสียแล้ว จึงไม่ได้ติดใจตามราวีอีก
ต่อมาไม่นานบาปกรรมที่พระองค์ก่อไว้ส่งผล เกิดป่วยด้วยโรคร้ายแรง ไม่มียารักษาให้หายได้ เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านได้ทรงทราบด้วยญาณวิถีว่า พระเจ้าเมี่ยวจวงกำลังประสบเคราะห์กรรมอย่างหนัก ด้วยความกตัญญูกตเวทีเป็นเลิศ มิได้ถือโทษโกรธการกระทำพระบิดาแม้แต่น้อย ทรงได้สละดวงตาและแขนสองข้าง เพื่อรักษาพระบิดาจนหายจากโรคร้าย ว่ากันว่า ภายหลังสำเร็จอรหันต์ ได้ดวงตาและพระกรคืน เคยแสดงปาฏิหาริย์เป็นปางกวนอิมพันมือ เจ้าหญิงเมี่ยวซ่านนั้น ตอนแรกเป็นชาวพุทธ ตอนหลังเทพไท่ไป๋ได้มาโปรด ชี้แนะหนทางดับทุกข์ เหตุนี้พระโพธิสัตว์กวนอิมจึงเป็นเทพทั้งฝ่ายพุทธและฝ่ายเต๋าในเวลาเดียวกัน
พระโพธิสัตว์กวนอิม
ปางพันมือ
พระโพธิสัตว์กวนอิม ปางพันมือ สัญลักษณ์แห่งความแคล้วคลาดจากภัยอันตรายทั้งปวง เหมาะอย่างยิ่ง สำหรับเสริมสร้างความเป็นสิริมงคล ที่สื่อถึงความหมายที่ดี ตามความเชื่อที่ว่า หากได้บูชาพระโพธิสัตว์กวนอิม ปางพันมือ แล้วจะแคล้วคลาดจากภัยอันตรายทั้งปวง และด้วยเมตตาจิตของพระโพธิสัตว์กวนอิม จะทำให้ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข.
พระโพธิสัตว์กวนอิม ปางพันมือ เป็นปางหนึ่งของมหาโพธิสัตว์ อวโลกิเตศวร ตามความเชื่อ เมื่อประมาณหนึ่งหมื่นปีมาแล้ว เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในประเทศจีน ฝนตกหนักน้ำในแม่น้ำฮวงโหเกิดท่วม ผู้คนจำนวนมากถูกน้ำพัดพาไป พุทธศาสนิกชนได้สวดวิงวอนต่อพระโพธิสัตว์กวนอิมให้ทรงช่วย ทำให้พระองค์ต้องเสด็จลงมาช่วยผู้ที่ถูกน้ำท่วม แต่การมีเพียงสองมือ ย่อมช่วยได้ไม่ทันเหตุการณ์ พระองค์จึงทรงตั้งอธิษฐานว่าขอให้มีพันเนตร พันกร จะได้ช่วยคนได้ครั้งละพันกร และทันใดนั้นก็เกิดปาฏิหาริย์ตามที่ทรงอธิฐาน พุทธศาสนิกชนชาวจีน จึงสร้างองค์สมมุติพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรปางพันเนตรพันกรขึ้นไว้เคารพบูชา
福禄寿禧瑞祥 (ฟู๋ลู่เช่าสี่รุ่ยเซียง) : มหาคำอวยพร 3 ประการ
福 (ฟู๋) : อุดมไปด้วยทรัพย์สิน เงินทองไหลมาเทมา มั่งคั่งร่ำรวย
禄 (ลู่) : มีอำนาจวาสนา เป็นเจ้าคนนายคน ติดต่องานไร้อุปสรรค
寿 (เช่า) : มีอายุมั่นขวัญยืน ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ความเป็นมงคล : แคล้วคลาดจากภัยอันตรายทั้งปวง และด้วยเมตตาจิตของพระโพธิสัตว์กวนอิม จะทำให้ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข เพียบพร้อมด้วยเงินทอง อำนาจวาสนา อายุมั่นขวัญยืน
นันท์นภัส วงศ์ใหญ่
ผู้อำนวยการ ศูนย์ข่าวภาคกลาง หนังสือพิมพ์ 5 เหล่าทัพ