ละโว้หรือลพบุรี จึงกลายเป็นเมืองท่าที่ติดต่อกับต่างประเทศที่สำคัญในสมัย ทวารวดีเช่นเดียวกับเมืองนครชัยศรี เมืองอู่ทอง เมืองคูบัว เมืองมโหสถ ต่อมาได้เกิดเมืองอโยธยาขึ้นในสมัยลพบุรี ซึ่งอยู่ทำเลที่เป็นชุมชนทางน้ำดีกว่า เมืองลพบุรีหรือละโว้จริงด้อยความสำคัญลง แต่การติดต่อระยะระหว่างเมืองละโว้และเมืองอโยธยา และเมืองทางใต้ก็ยังใช้แม่น้ำลพบุรีเช่นเดิมและในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
พระองค์ทรงใช้ลำน้ำนี้เป็นเส้นทางเสด็จฯ เป็นขบวนพยุหยาตราชลมารค จากพระนครศรีอยุธยามาประทับแรมที่ พระราชวังเมืองลพบุรี ตรงหน้าเมืองละโว้ แม่น้ำทุกปีได้แยกออกกับเป็น 2 สายหนึ่ง แยกไปทางตะวันตกผ่านชุมชนเมืองท่าวุ้ง บางนา ไปออกแม่น้ำเจ้าพระยาที่ปากคลอง บางพุทรา สิงห์บุรี
ลำน้ำนี้ได้ขุดขึ้นตามเส้นทางเกวียนจึงคดโค้งไปมา กงจักรขุดขึ้นก่อน สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เป็นลำน้ำที่ใช้ติดต่อกับเมืองสิงห์บุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี ตลอดไปถึงชัยนาทและ แพรกศรีราชา
อีกสายหนึ่ง เป็นลำน้ำเก่า แยกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ผ่านบ้าน สาม เรือน บ้านบางขันหมาก เป็นลำคลองบางทะลาย ลำห้วยใหญ่ คลองบางคู คลองบางลี่ ผ่านชุมชนวัดไลย์ ไปติดต่อกับชุมชนเขาสมอคอน อันเป็นเราเวรที่พบโบราณวัตถุสมัยทวารวดี
พระนางจามเทวี ธิดาของพระเจ้ากรุงละโว้ ได้ใช้ลำน้ำนี้เป็นเส้นทางเสด็จขึ้นไปครองเมืองลำพูน เมื่อปี พุทธศักราช 1204
ลำน้ำนี้พอถึงตลาดท่าโขลง จะแยกเป็น 2 สาย สายหนึ่งเป็นคลองบางไร่ ผ่านบ้านวัดข่อย บ้านโตนด และหายไปในลำคลองโพธิ์ใช้ยังเห็นล่องลอยและสามารถเดินทางต่อไปยังเมืองจันทรเสนได้
ส่วนอีกสายหนึ่ง กลายเป็นแม่น้ำบางขามขึ้นไปทางเหนือ ผ่านบ้านไผ่ วกปลายทางตะวันออก ผ่านบ้านมึงไปยังโคกสำโรงและขึ้นบกสามารถเดินทางไปยังเมืองศรีเทพซึ่งเป็นเมืองรุ่นรวมเดียวกันกับเมืองลพบุรีได้
นั่นคือเส้นทางแม่น้ำลพบุรี ที่เกี่ยวข้องในแง่ของประวัติศาสตร์ของเมืองฟรีในอดีตเมื่อพันกว่าปีโน่น
เมื่อเดือนตุลาคม 2535 ได้กลายมาเป็นจุดเริ่มต้นของโครงการปรับปรุงฟื้นฟูแม่น้ำลพบุรี ปริมณฑลและสาขา โดยมีจุดมุ่งหมายในการรักษาสภาพของแม่น้ำลพบุรีแม้นจะไม่ได้เหมือนเดิมก็ให้ใกล้เคียงก็พอ โดยเฉพาะการปรับปรุงแม่น้ำลพบุรีมีน้ำหล่อเลี้ยงอยู่ตลอดทั้งปีรวมกระถางให้อยู่ในสภาพที่สะอาด ประชาชนสามารถที่จะนำน้ำมาใช้ในครัวเรือนและใช้ในการเกษตรได้ ใครเคยอยู่ระแวกแม่น้ำลพบุรี หรือไม่มีหรือไม่ก็เคยเห็นแม่น้ำลพบุรี เมื่อประมาณ 30 ปีที่ผ่านมา คงจะจำภาพของแม่น้ำลพบุรีกันได้ดี
แต่ปัจจุบันไม่เหลือสภาพเดิมให้เห็นอีกแล้ว
ครั้งกระนั้น แม่น้ำลพบุรียังเป็นเส้นทางคมนาคมทางน้ำที่สำคัญของชาวชนบทมาสู่ตัวเมืองลพบุรี เมื่อสมัยก่อนมีเรือเมล์ เรือจ้าง เรือหางยาวจึง ขวักไขว่อยู่บนแม่น้ำสายนี้ เมื่อสมัยก่อนนายฤดูน้ำหล่าจะมีน้ำเต็มจนล้น 2 ฝั่ง บรรดาเรือโยงเดินทางขึ้นมาตามลำน้ำหนีเพื่อขนถ่ายสินค้าไม่ว่าจะเป็นข้าวสารหรือข้าวโพด ที่บริเวณ สัดมณีชลขัณฑ์ เพื่อนำหล่อสู่กรุงเทพมหานคร รวมกระทั่งเรือ ขนทราย ที่นำสายมาขึ้นขายที่วัดมณีชลขันธ์ด้วย
การสัญจรทางเรือจึงดูครับข้างในตอนนั้นและในสมัยนั้น ธรรมชาติอันสวยสดงดงามยามเย็นที่ผู้คนกว่ายามนี้ ที่รถยนต์กวักไกว่จนแสบรูหูในบางหน
เมื่อสมัยก่อนหลังประเพณีทอดกฐินตามวัดต่างๆที่อยู่ติดริมน้ำหรือแม่น้ำลพบุรีตามที่ ตามมาคือประเพณีการแข่งเรือเป็นงานบุญที่ชาวน้ำถือเป็นวันที่ต้องสนุกสนานกันเต็มที่ แต่ไม่ปัจจุบันนี้ไม่มีให้เห็นอีกแล้ว
นั่น คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อ 30 ถึง 40 ปีที่ผ่านมา เหมือ ระยะเวลาที่เนิ่นนาน ไปกว่านั้น นายสมัยที่เมืองลพบุรียังเรียกชื่อกันว่าละโว้
ตอนนั้นเราเป็นเมืองที่มีความสำคัญในการคมนาคมอย่างมากเพราะมีเส้นทางที่ติดต่อกับเมืองในเขตอื่นทั้งทางบกและทางน้ำ ทางน้ำนั้นใช้แม่น้ำลพบุรีเป็นสำคัญ แม่น้ำลพบุรีติดเป็นแม่น้ำที่ใช้ติดต่อกับเมืองทางใต้ตะวันออกและทางเหนือ แต่เดิมแม่น้ำลพบุรีเป็นห้องน้ำที่กว้างใหญ่กว่าในขณะในขณะนี้มากนัก สองฝั่งแม่น้ำ แต่เมืองลพบุรีลงไปทางใต้ยังเป็นที่หลุมต่ำบ้านเมืองใหญ่ยังไม่เกิดเรือสำเภาเดินทะเลซึ่งเข้ามาจากปากแม่น้ำลพบุรี แต่ปัจจุบันนี้ไม่ได้เห็นอีกแล้วเป็นภาพประวัติศาสตร์ไม่ได้ให้ลูกหลานได้ดูกัน
ปัจจุบันแม่น้ำลพบุรีกำลังจะสูญสิ้นความเป็นแม่น้ำ ที่เป็นเส้นเลือดหล่อเลี้ยงผู้คนชาวลพบุรีไปแล้ว หากแต่ว่ายังมีกลุ่มคนที่กำลังจะฟื้นฟูสภาพแม่น้ำกันอย่างเอาจริงเอาจัง แต่ไม่มีใครทำสำเร็จสักลายแต่ไม่มีใครทำสำเร็จสักราย
เพราะจะมีคุณ
มีนายทุนและประชาชนได้ล้ำลำน้ำเข้าไปในแม่น้ำลพบุรีเกือบไม่เหมือนสภาพเป็นแม่นาลพบุรีให้เห็นในปัจจุบันนี้มีแต่ตึกกินเข้าไปเกือบครึ่งแม่น้ำ และฝั่งแม่ลพบุรีไม่เหลือคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น หรือสภาพน้ำเน่าเป็นน้ำเสียกันต่อไปอีกกี่ยุคกี่สมัย ใครจะเป็นพระเอกลงมือแก้ปัญหาให้แม่น้ำลพบุรีกลับมาเหมือนเดิมเหมือนสภาพเมื่อสมัยก่อนอย่างสวยงาม
นันท์นภัส วงศ์ใหญ่
ผู้อำนวยการ ศูนย์ข่าวภาคกลาง หนังสือพิมพ์5 เหล่าทัพ