ร้านสกายเวย์ ขวัญใจวัยรุ่น บิ๊กบอส ได้ปริ้นไอเดียสุดแจ๋ว สี่ข้อควรรู้ ก่อนสเตป ไปท่องเที่ยวช่วงสงกรานต์
นายศิริชัย อัมพร
นางมารศรี อัมพร
เจ๊กิ่ง เจ้าของร้านสกายเวย์ สองสามีภรรยา หัวใจกุศล หัวใจนักสู้
เปิดเผยกับ ศูนย์ข่าวภาคกลางหนังสือพิมพ์ 5 เหล่าทัพ
ตอนหนึ่งว่า
ก่อนเดินทางไกล ควรสวมใส่หมวกกันน็อค
ท่านจะปลอดภัยจากอุบัติเหตุทางบนถนน
นายศิริชัย อัมพร
นางมารศรี อัมพร
เจ๊กิ่ง เจ้าของร้านสกายเวย์ สองสามีภรรยา หัวใจกุศล หัวใจนักสู้
เปิดเผยกับ ศูนย์ข่าวภาคกลางหนังสือพิมพ์ 5 เหล่าทัพ
เปิดเผยเพิ่มเติมอีกว่าห่วงใยมอไซค์ช่วงสงกรานต์ วอนคนขี่คนซ้อนสวมหมวกกันน็อค หลังปี 61 พบมอไซค์เสียชีวิตร้อย 67.4 ช็อกไม่สวมหมวกร้อยละ 86 ด้าน สอจร. จับมือภาคีทั่วประเทศแชร์ประสบการณ์รณรงค์ขับขี่ปลอดภัย ชี้หากทำตามช่วยลดอัตราตายปีละ 5,000 คน
นายแพทย์วิทยา ชาติบัญชาชัย ประธานคณะทำงานป้องกันอุบัติเหตุจราจรระดับจังหวัด (สอจร.) สนับสนุนโดย สสส. กล่าวในงาน “สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาคีเครือข่ายทั่วประเทศ” ว่า จากรายงานสถานการณ์โลกด้านความปลอดภัยทางถนน ปี 2561 ขององค์การอนามัยโลก พบว่า คนไทยเสียชีวิตจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ร้อยละ 74.4 สูงเป็นอันดับ 3 ของโลก และจากข้อมูลพบว่าในประเทศไทยมีอำเภอเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ 283 อำเภอ ส่งผลให้ตัวเลขภาพรวมของประเทศสูงตามไปด้วย สิ่งที่ต้องผลักดันคือการให้หน่วยงานท้องถิ่นเป็นเจ้าภาพ โดยมีพี่เลี้ยง สอจร. เข้าไปสนับสนุนพัฒนาทักษะความรู้ และหาโอกาสเชื่อมโยงทุกหน่วยงานแลกเปลี่ยนข้อมูลความร่วมมือระหว่างกัน
ในช่วงเทศกาลสำคัญ การรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย สวมหมวกนิรภัยเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ แต่การบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มข้นทั้งประเทศคือมาตรการที่จะช่วยลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุได้อย่างเห็นผลชัดเจนมากที่สุด หากคนไทยขี่มอเตอร์ไซค์ใส่หมวกกันน็อคทุกคน การเสียชีวิตบนท้องถนนจะลดลงถึงปีละ 5,000 คนจากจำนวนเฉลี่ย 20,000 กว่าคนทุกปี”
ศิริชัย กล่าวว่า
ทางรอดที่จะลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนทั้งประเทศได้ ทุกจังหวัดต้องมีเป้าหมายลดการบาดเจ็บเสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์ โดยอาศัยการกำหนดนโยบายจากส่วนกลาง ประกอบกับการบังคับกฎหมายอย่างเข้มข้น เช่นการบังคับสวมหมวกนิรภัย การควบคุมความเร็ว การออกแบบเลนรถจักรยานยนต์ให้ครอบคลุม การบังคับให้ทำใบอนุญาตขับขี่ การบังคับตรวจสภาพรถ และการขยายระบบรถขนส่งมวลชนให้มีความครอบคลุมมากขึ้น และในช่วงเทศกาลสงกรานต์นี้ สิ่งที่ สอจร. เฝ้าระวังเป็นพิเศษคือคนเมาแล้วขับในกลุ่มผู้ใช้รถจักรยานยนต์
“หนึ่งในมาตรการที่พี่เลี้ยง สอจร. ดำเนินการบนถนนสายรองที่มีอัตราการเกิดอุบัติเหตุใกล้เคียงกับถนนสายหลัก คือการเสริมความเข้มแข็งให้กับชุมชนหมู่บ้าน อย่างเช่นการร่วมมือกับตำรวจภูธรจังหวัดจัดตั้งกองร้อยน้ำหวานจากสตรีในชุมชนที่มีจิตอาสา ทำหน้าที่ช่วยเหลือเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจในการระงับเหตุความรุนแรง และดูแลพฤติกรรมขับขี่ไม่ปลอดภัยในช่วงเทศกาลงานบุญสำคัญ ซึ่งประสบความสำเร็จแล้วในหลายจังหวัด
นายศิริชัย อัมพร เปิดเผยว่า
ผมพร้อมด้วย.นางมารศรี อัมพร
เจ๊กิ่ง เจ้าของร้านสกายเวย์
สิ่งที่น่าเป็นห่วงในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 66 นอกจากการใช้ความเร็วเกินกำหนดและการเมาแล้วขับแล้ว คือสภาพถนนเปียก ที่ส่งผลให้รถมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุมากกว่าช่วงเวลาปกติ มีผู้ขับขี่มอเตอร์ไซค์จำนวนไม่น้อยพยายามหักหลบน้ำจนรถล้ม แต่การสวมหมวกนิรภัยจะช่วยลดแรงกระแทกที่จะเกิดขึ้นกับศีรษะได้”
คาดการณ์อุบัติเหตุ
รู้หรือไม่…ผู้ใช้รถจักรยานยนต์ 75.6% ที่เสียชีวิตไม่ใส่หมวกกันน็อค และมีเด็กไทยเพียง 7% เท่านั้น ที่พ่อ-แม่ ใส่หมวกกันน็อคให้ระหว่างการเดินทาง วันนี้เราจึงนำเรื่องราวของ หมวกกันน็อคล็อคชีวิต มาฝากผู้ใช้รถจักรยานยนต์ทุกคน “เพราะบนท้องถนนไม่มีระยะปลอดภัยสำหรับคนไม่ใส่หมวก”
ใส่หมวกกันน็อค
– 69% ช่วยลดความรุนแรงของการบาดเจ็บศีรษะและสมอง โดยส่วนใหญ่อุบัติเหตุมักจะเกิดการบาดเจ็บที่หน้าผาก ศีรษะด้านบน รองลงมาคือศีรษะด้านข้าง และด้านหลังท้ายทอย
– 39% ลดความเสี่ยงในการเสียชีวิตของคนขับ และคนซ้อนท้าย
ไม่ใส่หมวกกันน็อค หากเกิดอุบัติเหตุ จะเสียค่ารักษามากกว่าผู้สวมหมวกกันน็อคถึง 3 เท่า
– 96.8% คนซ้อนท้ายเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
– 92.8% คนขับเสี่ยงต่อการเสียชีวิต
– 65% มีโอกาสบาดเจ็บทางศีรษะ
เรื่องควรรู้ของหมวกกันน็อค
– หมวกกันน็อคที่ดีจะต้องมีเครื่องหมายการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) มีสายรัดคาง มีรูระบายอากาศ ช่องฟังเสียง ที่บังลมโปร่งแสง
– ควรเปลี่ยนทุก 3 ปี นับจากวันผลิต เนื่องจากเนื้อโฟมจะเสื่อมสภาพลงจากการใช้งาน หากเกิดอุบัติเหตุได้รับแรงกระแทกอาจยุบตัวผิดรูป มีผลต่อผู้ขับขี่ได้รับแรงกระแทกแบบเต็มๆ เพราะวัสดุที่เป็นโฟมจะไม่ซับแรงอีกต่อไป
– ควรเปลี่ยนใหม่ทันที หลังจากถูกกระแทกจากการประสบอุบัติเหตุ เพราะแผ่นรองรับแรงกระแทกได้ถูกใช้งานไปแล้ว ไม่สามารถรองรับแรงกระแทกได้ซ้ำ
– การขับขี่รถจักรยานยนต์โดยไม่ใส่หมวกกันน็อค มีโทษปรับ 500 บาท และหากมีคนซ้อนท้ายไม่ใส่หมวกมีโทษปรับ 500 บาท คนขับจะต้องโดนปรับ 2 เท่า ฐานไม่ใส่หมวกให้ตัวเอง กับไม่จัดให้คนซ้อนใส่หมวก
– การใส่หมวกกันน็อคควรรัดคางในระดับที่พอดีทุกครั้งทั้งคนขับและคนซ้อนท้าย ไม่ว่าจะขับขี่ในระยะทางใกล้หรือไกล เพื่อลดความเสี่ยง เพิ่มความปลอดภัยให้ตัวคุณและคนที่คุณรัก
มีเครื่องหมายรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หมวกมีน้ำหนักไม่มากเกินไป รวมถึงมีสีสันสดใส จะช่วยให้ผู้ขับรถคนอื่นมองเห็นอย่างชัดเจนในระยะไกล การสวมหมวกกันน็อกในลักษณะหน้าตรง ไม่เอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง คาดสายรัดคางและปรับความตึงให้กระชับใต้คาง สายไม่พลิก บิดหรือหย่อน รวมถึงกระชับเพียงพอที่หมวกนิรภัยจะไม่หลุดออกจากศีรษะเมื่อประสบอุบัติเหตุ จะช่วยป้องกันการบาดเจ็บรุนแรงหรือเสียชีวิตได้ ”
ข้อควรระวังในการใช้หมวกกันน็อก ควรเปลี่ยนหมวกกันน็อกทุก ๆ 3-5 ปี หรือภายหลังที่หมวกนิรภัยกระแทกพื้นหรือของแข็งอย่างรุนแรง เพราะวัสดุภายในหมวกกันน็อกจะเสื่อมสภาพและไม่สามารถรองรับแรงกระแทกได้
เมื่อประสบอุบัติเหตุ สวมหมวกกันน็อกและคาดสายรัดคางทุกครั้งที่ขับขี่และโดยสารรถจักรยานยนต์ พร้อมใช้ความเร็วไม่เกิน 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เพราะเป็นระดับความเร็วที่หมวกกันน็อกรองรับแรงกระแทกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้ใดหมวกกันน็อคมาตรฐาน มาติดต่อขอซื้อที่ร้านสกายเวย์ลพบุรี ได้จันทร์ถึงเสาร์รีบซื้อก่อนวันสงกรานต์นะครับ มาใส่หมวกกันน็อค
ป้องกันป้องกันความปลอดภัย
ร้านสกายเวย์อยู่หัวโค้งวัดพระธาตุใกล้สถานีรถไฟลพบุรีครับ ตึกสีฟ้าสังเกตุง่าย
ร้านเปิดทุกวันจันทร์ – เสาร์ หยุดทุกวันอาทิตย์
สอบถามข้อมูลสินค้าได้ที่เบอร์
📞 036-421-434
📞 081-833-8044
นันท์นภัส วงศ์ใหญ่
ผู้อำนวยการศูนย์ข่าวภาคกลางหนังสือพิมพ์ 5 เหล่าทัพ